เรื่อง กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานของภาชนะบรรจุที่ทำจากพลาสติกสำหรับบรรจุอาหาร

มาตรฐาน รายการทดสอบ ลิ้งค์ข้อมูล ห้องปฏิบัติการ
  • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 295 (พ.ศ.2548) (ยกเว้นนม)
  • ชนิดพลาสติกด้านที่สัมผัสอาหาร
  • ตะกั่ว
  • แคดเมียม
  • โลหะหนัก(คำนวณเป็นตะกั่ว)ในสารละลายกรดอะซีติก ร้อยละ 4
  • โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตที่ใช้ทำปฏิกิริยา
  • สิ่งตกค้างที่เหลือจากการระเหยเมื่อสกัดด้วยน้ำกลั่น
  • สิ่งตกค้างที่เหลือจากการระเหยเมื่อสกัดด้วยสารละลายกรดอะซีติก ร้อยละ 4 โดยปริมาตร
  • สิ่งตกค้างที่เหลือจากการระเหยเมื่อสกัดด้วยสารละลายเอทานอล ร้อยละ 20
  • สิ่งตกค้างที่เหลือจากการระเหยเมื่อสกัดด้วยนอร์แมลเฮปเทน
  • การละลายของสีเมื่อสกัดด้วยน้ำกลั่น
  • การละลายของสีเมื่อสกัดด้วยสารละลายกรดอะซีติก ร้อยละ 4
  • การละลายของสีเมื่อสกัดด้วยสารละลายเอทานอล ร้อยละ 20
  • การละลายของสีเมื่อสกัดด้วยเฮปเทน
  • คลอสทริเดียม เพอร์ฟริงเจนส์
  • แซลโมเนลลา
  • สแตฟิโลค็อกคัส ออเรียส
  • แบซิลลัส ซีเรียส
  • อี.โคไล (ตรวจเพิ่ม)
  • โคลิฟอร์ม (ตรวจเพิ่ม)
  • จุลินทรีย์ทั้งหมด (ตรวจเพิ่ม)
  • พลวง (ทดสอบเฉพาะ PET)
  • เจอร์มาเนียม (ทดสอบเฉพาะ PET)
  • สารที่ระเหยได้ (โทลูอีน, เอทิลเบนซิน, ไอโซโปรปิลเบนซิน, นอร์มัลโปรปิลเบนซิลและสไตรีน ) (ทดสอบเฉพาะ PS)
  • แบเรียม (ทดสอบเฉพาะ PVC)
  • ฟีนอล (ทดสอบเฉพาะเมลามีน)
  • ฟอร์แมลดีไฮด์ (ทดสอบเฉพาะเมลามีน)
  • ฟอร์แมลดีไฮด์
  • ฟอร์แมลดีไฮด์
-